4. PieSwitch Offline
4.1 เปิดไฟล์ PieSwitch_Offline.ino บนโปรแกรม Arduino IDE
/* Simple PieRelay Offline version */
#include "PieRelay.h" // เรียกใช้งานไลบรารี่สำหรับควบคุม Relay
#define RELAYPIN1 13 // ตำแหน่ง PIN ของ Relay สวิตซ์ตัวที่ 1
#define RELAYPIN2 12 // ตำแหน่ง PIN ของ Relay สวิตซ์ตัวที่ 2
#define BUTTONPIN1 2 // ตำแหน่ง PIN ของปุ่มสวิตซ์ตัวที่ 1
#define BUTTONPIN2 0 // ตำแหน่ง PIN ของปุ่มสวิตซ์ตัวที่ 2
PieRelay *sw1, *sw2; // ประกาศ object ของสวิตซ์ตัวที่ 1 และ 2
void stateChange(int relayID, int type, int state) {
Serial.print("relay "); Serial.print(relayID); Serial.print(" --> "); Serial.println(state?"ON":"OFF");
}
void setup() {
Serial.begin(115200);
sw1 = new PieRelay(1, RELAYPIN1, BUTTONPIN1); // กำหนด object ให้สวิตซ์ตัวที่ 1
sw2 = new PieRelay(2, RELAYPIN2, BUTTONPIN2); // กำหนด object ให้สวิตซ์ตัวที่ 2
sw1->setCallback(STATECHANGE, stateChange); // กำหนด callback ให้สวิตซ์ตัวที่ 1
sw2->setCallback(STATECHANGE, stateChange); // กำหนด callback ให้สวิตซ์ตัวที่ 2
}
void loop() {
delay(250);
}
4.2 กดปุ่ม BT2 บนบอร์ดแช่ไว้ แล้วต่อสาย USB to TTL เข้ากับ USB Port บนคอมพิวเตอร์ที่ใช้ Upload Code และทำการเลือก Board และ Port ให้ถูกต้อง
กำหนด Board เลือกเมนู Tools --> Board:“????????” --> Generic ESP8266 Module
กำหนด Port เลือกเมนู Tools --> Port:“” --> COM?? (แต่ละเครื่องอาจจะเลข Port ไม่เหมือนกัน)
4.3 Upload Code
วิธีที่ 1 เลือกเมนู Sketch --> Upload
วิธีที่ 2 กดคีย์ลัด Ctrl+U
วิธีที่ 3 คลิกที่ปุ่ม
4.4 ดูสถานะการ Upload Code
ดูผลลัพธ์เมื่อกดปุ่มสวิตซ์บนบอร์ด เมื่อกด BT1 และ BT2 สถานะไฟบนบอร์ดจะแสดงสถานะปัจจุบัน OP1 และ OP2 เปิดหรือปิดอยู่